ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cleome viscosa L.
วงศ์ : CLEOMACEAE
ชื่อสมุนไพร (สามัญ) : ผักเสี้ยนผี Asian spider flower, Tickweed, Polanisia vicosa, Wild spider flower, Stining cleome, Wild caia tickweed
ชื่อสมุนไพร (พื้นเมือง) :
ชื่อสมุนไพร(ชื่ออื่น ๆ) : ผักส้มผี, ส้มเสี้ยนผี (ภาคเหนือ), ผักเสี้ยนตัวเมีย, ไปนิพพานไม่รู้กลับ
ลักษณะพืช : ไม้ล้มลุก มีความสูงได้ประมาณ 1 เมตร
พื้นที่ที่พบ : พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย แอฟริกา และออสเตรเลีย สำหรับในประเทศไทยมักจะพบขึ้นได้ตามข้างถนนหรือที่รกร้าง ตามริมน้ำลำธาร บางครั้งก็อาจพบได้บนเขาหินปูนที่แห้งแล้งหรือตามชายป่าทั่ว ๆ ไป
การขยายพันธุ์ :
ประโยชน์ทางสมุนไพรและ วิธีการใช้ประโยชน์ (เช่น ต้ม บด) : ทั้งต้น ช่วยเจริญธาตุไฟในร่างกาย ต้นมีรสขมร้อน ช่วยแก้ลม ใช้แก้อาการปวดศีรษะข้างเดียว ด้วยการใช้ทั้งต้นของผักเสี้ยนผี ใบขี้เหล็กอ่อน ดอกขี้เหล็กอ่อน และราก ต้น ผล ใบ ดอกของแมงลัก นำมาต้มเป็นยากิน
ข้อเสียหรือผลกระทบข้างเคียง :
หมายเหตุ :
แหล่งข้อมูลอ้างอิง : คุณวัชรี ชัยชมภู