การบูร

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cinnamomum camphora (L.) J.Presl

วงศ์ : LAURACEAE

ชื่อสมุนไพร (สามัญ) : การบูร

ชื่อสมุนไพร (พื้นเมือง) : การบูร

ชื่อสมุนไพร(ชื่ออื่น ๆ) : การบูร การบูร (ภาคกลาง), อบเชยญวน (ไทย), พรมเส็ง (เงี้ยว), เจียโล่ (จีนแต้จิ๋ว), จางมู่ จางหน่าว (จีนกลาง)

ลักษณะพืช : ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลักษณะเป็นทรงพุ่มกว้างและทึบ มีความสูงของต้นได้ถึง 30 เมตร กิ่งก้านเรียบเกลี้ยง ยอดอ่อนมีใบเกล็ดสีเหลือง น้ำตาลหุ้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่ กว้าง 3-5 ซม. ยาว 5-8 ซม. มีกลิ่นหอมออกใบที่ซอกใบ ดอกย่อมมีขนาดเล็ก สีนวล ผลเป็นผลสด ขนาดเล็ก

พื้นที่ที่พบ : เป็นพรรณไม้พื้นเมืองของประเทศจีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีเขตการกระจายพันธุ์ในแถบเมดิเตอร์เรเนียน อินโดนีเซีย อินเดีย อียิปต์ แอฟริกาใต้ จาไมกา บราซิล สหรัฐอเมริกา และประเทศไทย

การขยายพันธุ์ : วิธีการเพาะเมล็ด และวิธีการปักชำ

ประโยชน์ทางสมุนไพรและ วิธีการใช้ประโยชน์ : เนื้อไม้เป็นเป็นยาบำรุง ขับเสมหะ ขับลมแก้จุกแน่นเฟ้อ แก้ปวดท้อง ท้องร่วง ขับเหงื่อ

ข้อเสียหรือผลกระทบข้างเคียง :

หมายเหตุ :

แหล่งข้อมูลอ้างอิง : ไม้ใบให้คุณสมุนไพรใกล้ตัว. (พิมพ์ครั้งที่..). (ปีที่พิมพ์). (น 14 ). สถานที่พิมพ์:                                สำนักพิมพ์. (ข้อมูลในหนังสือไม่มี)

คุณวัชรี ชัยชมภู