โลดทะนงแดง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trigonostemon reidioides (Kurz) Craib

วงศ์ : EUPHORBIACEAE

ชื่อสมุนไพร (สามัญ) : โลดทะนงแดง

ชื่อสมุนไพร (พื้นเมือง) :

ชื่อสมุนไพร(ชื่ออื่น ๆ) : ทะนง รักทะนง (นครราชสีมา), นางแซง (อุบลราชธานี), โลดทะนงแดง (บุรีรัมย์), ดู่เบี้ย ดู่เตี้ย (เพชรบุรี), ทะนงแดง (ประจวบคีรีขันธ์), ข้าวเย็นเนิน หัวยาเข้าเย็นเนิน (ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์), หนาดคำ (ภาคเหนือ)

 ลักษณะพืช : ไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ถึง 1 เมตร

พื้นที่ที่พบ : พบได้ตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง

การขยายพันธุ์ : ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด

ประโยชน์ทางสมุนไพรและ วิธีการใช้ประโยชน์ : รากใช้ต้มกับน้ำดื่ม ช่วยแก้วัณโรค แก้หืด เป็นยาระบาย ช่วยในการคุมกำเนิดรากโลดทะนงแดง เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่มีประสิทธิภาพในการรักษาพิษงู

ข้อเสียหรือผลกระทบข้างเคียง :

หมายเหตุ :

แหล่งข้อมูลอ้างอิง : คุณวัชรี ชัยชมภู